กระดานแสดงความคิดเห็น
Home
Contents
Articles
Quiz
Members
Sponsor
Print-friendly
MENU
ปรับปรุง : 2566-10-15 (กระดานแสดงความคิดเห็น)
เว็บเพจหน้านี้สำหรับผู้ดูแลเท่านั้น
รหัส secure
=>
นำตัวอักษร สีขาวบนพื้นแดง มาป้อนในช่องนี้
edit_topic_password =>
<center><table width=90% border=0 bgcolor=#000080><tr><td><font color=white size=4>ดึงสารสนเทศออกมาจากบทความของ ภัทรา มาน้อย</td></tr></table><table width=90% bordercolor=#000080 border=1><tr><td bgcolor=white><br>ดึงสารสนเทศออกมาจากบทความของ ภัทรา มาน้อย<br /> ผู้ประสานงานศูนย์ส่งเสริมการวิจัยภาคเหนือ จังหวัดลำปาง<br /> เรื่อง สังเคราะห์วิธีคิดแบบวิจัยท้องถิ่นเพื่อปรับใช้กับการทำงานชุมชน น.19 - 23<br /> ในวารสารโยนก ปีที่ 2 ฉบับเดือนมกราคม 2550<br /> ผมสรุป หรือคัดลอกบางส่วน ออกมาได้ดังนี้<br /> 1. อดีตมีเรื่องเล่าเตือนใจ เรื่องผู้ใหญ่ลีตีกลองประชุม รัฐบาลก็สั่งให้ชาวนาเลี้ยงเป็ด และสุกร อย่างไม่เข้าใจ<br /> เป็นตัวอย่างความล้มเหลวทางความคิด ของภาครัฐ ที่ทำให้ภาคประชาชนล้มเหลวอย่างเป็นระบบ<br /> 2. ปัจจุบันเรายึดตำราฝรั่ง เด็กได้ความรู้เรื่องเพศศึกษาอย่างทะลุทะลวง แต่ไม่รู้วิธีป้องกัน<br /> เพราะครูเองก็ยังไม่รู้วิธีป้องกัน และมีปัญหาให้เห็นในหนังสือพิมพ์หน้าหนึ่งบ่อยครั้ง<br /> 3. หมอจรัส สุวรรณเวลา เล่าเรื่อง เต่ากับกระต่าย ในปัจจุบัน <br /> ที่กระต่ายรู้จักขุดหลุมพลางเต่า ส่วนเต่าก็จะไม่เดินตามกระต่าย แต่หาวิธีใช้จุดเด่นของตนเอง ในการเอาชนะ<br /> 4. ประสบการณ์ด้วยวิธีชวนคุย คล้ายการทำแกงโฮ๊ะ ทำให้เกิดการสังเคราะห์โดยธรรมชาติ<br /> 5. เห็นแนวคิดการศึกษาของ กศน. กับของมหาวิทยาลัย พบคำว่า มาตรฐานเทวดา<br /> 6. งานวิจัยเป็นเพียง เครื่องมือในการสร้างระบบคิด ระบบคน ระบบความรู้ และระบบงาน<br /> โดยผลที่เกิดขึ้นคือ ความรู้ใหม่จากการสังเคราะห์ความรู้ทั้งหมด ได้คนรู้มากขึ้น ทำมากขึ้น<br /> และที่สำคัญคือ ปัญญา เพื่อแสดงหาคำตอบบางประการอย่างมีทิศทางเดียวกัน โดยตัวชี้วัดจากผู้เรียน ไม่ใช่มาตรฐานเทวดา<br /> 7. คำว่า การคิดอย่างวิจัย ใช้คลำแต่ละส่วน เช่น ความรู้ที่มีอยู่ในตัวคน หรือความรู้ใหม่ที่เกิดขึ้นตลอดเวลา<br /> การคิดอย่างวิจัย อาจได้มาซึ่ง การทำแผนที่คนรู้ (Human Mapping : HM) <br /> การทำ HM จึงเป็นการเคารพความรู้ในตัวคน และภูมิปัญญาท้องถิ่น<br /> 8. พันธกิจหลักของ ศูนย์ประสานงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น<br /> - ติดต่อ แสวงหาผู้สนใจร่วมงานวิจัยเพื่อท้องถิ่น<br /> - ติดตามสนับสนุนโครงการที่ดำเนินอยู่<br /> - เชื่อมโยงงานวิจัยในพื้นที่กับงานอื่น<br /> - ยกระดับความรู้ และขยายผล<br /> 9. โจทย์วิจัยถูกกำหนดโดยคนในชุมชน และร่วมกันหาแนวทางแก้ปัญหา ผ่านกระบวนการวิจัยเพื่อท้องถิ่น<br /> ความรู้จากภายในท้องถิ่น + ความรู้จากภายนอกท้องถิ่น<br /> <br /> เผยแพร่ใน <br /> http://www.thaiall.com/opinion/<br /> http://www.gotoknow.org/thaiall<br /> http://www.yonok.ac.th/board<br /> http://www.thaiall.com/research<br /> <br /> <br><br></td></tr><tr><td align=right bgcolor=black><font color=white><small><b>จากคุณ :</b> บุรินทร์ <a href=mailto:></a><a title='202.29.78.201'>.</a><br> 08:18pm (8/02/07)</font></td></tr></table></center>